วันอาทิตย์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

รวมบล็อคเพื่อนๆศึกษาศาสตร์ภาษาอังกฤษ

รวมบล็อคเพื่อนๆศึกษาศาสตร์ภาษาอังกฤษ



























































วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

สมาร์ทคาร์ด (smart card)

สมาร์ทคาร์ด(smart card)


              สมาร์ทคาร์ด เป็นบัตรพลาสติกชนิดหนึ่ง มีขนาดเท่ากับ บัตรเครดิต หรือ บัตรเอทีเอ็ม แตกต่างกันตรงที่มีการฝังชิปไว้บนบัตรด้วย ซึ่งในตัวชิปนี้สามารถบันทึกข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ และมีการรักษาความปลอดภัยเป็นอย่างดี บัตรสมาร์คาร์ดเป็นบัตรชำระเงินที่มีซิพคอมพิวเตอร์ติดอยู่ ซึ่งชิพอันนี้จำหน้าที่คล้ายเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดจิ๋วบนบัตร หน่วยความจำและความสามารถในการประมวลผลของชิพจะเปลี่ยนรูปแบบของการชำระเงินด้วยบัตร โดยชิปจะสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าแถบแม่เหล็กที่บัตรชำระเงินทั่วไปใช้อยู่ในปัจจุบันถึง 80 เท่า เป็นอย่างน้อย
คอมพิวเตอร์ชิพต่างจากแทบแม่เหล็กตรงที่ว่าชิพสามารถเก็บข้อมูล และ ประมวลผลข้อมูล ขณะที่แทบแม่เหล็กจะเก็บข้อมูลได้เพียงอย่างเดี่ยว และเนื่องจากโปรแกรมการใช้งานที่ติดตั้งไว้ในชิพนี้จะใช้ซอฟท์แวร์ที่แตกต่างกันไป จึงทำให้บัตรใบเดี่ยวกันนี้สามารถใช้งานได้ในหลายลักษณะในเวลาเดี่ยวกัน
นอกเหนือไปจากนี้บัตรสมาร์ทคาร์ดเป็นวิธีการชำระเงินให้ความปลอดภัยมากขขี้นเนื่องจากสามารถป้องกันการลักลอบนำข้อมูลของผู้ถือบัตรไปใช้ในทางที่มิชอบ
ประเภทของบัตรสมาร์ทคาร์ด
สมาร์ทคาร์ดแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
  • สมาร์ทคาร์ดแบบสัมผัส (Contact Smart Card) ตัวบัตรมีการฝังชิปใต้หน้าสัมผัสที่เป็นโลหะสีทองขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณครึ่งนิ้วไว้ที่ด้านหน้าของบัตร ตอนใช้งานต้องสอดบัตรเข้าในเครื่ิองอ่านให้หน้าสัมผัสของบัตรได้แตะกับหน้าสัมผัสภายในเครื่องอ่านบัตร ส่วนใหญ่จะเป็นกับบัตรเครดิตหรือบัตรเอทีเอ็ม ปัจจุบันประเทศไทยได้ใช้สมาร์ตการ์ดชนิดนี้ทำบัตรประจำตัวประชาชน หรือ ซิมการ์ดของโทรศัพท์มือถือ ปัจจุบันมีการทำบัตรเครดิต ที่เป็นสมาร์ทการ์ดแบบสัมผัสด้วยเป็นบัตรวิซ่า pay wave เช่น บัตรบลูการ์ด




  • สมาร์ทคาร์ดแบบไร้สัมผัส (Contactless Smart Card) ตัวบัตรจะมีการฝังชิปและขดลวดสายอากาศเอาไว้ภายในซึ่งอาจมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น สามารถติดต่อกับเครื่ิองอ่านบัตรที่ส่งสัญญาณผ่านคลื่นวิทยุได้ในระยะที่กำหนด ซึ่งอาจเป็นระยะที่ไกล้ชิด (Proximity Card) หรือระยะที่ไกล้เคียง (Vicinity Card) แล้วแต่มาตรฐานของบัตร โดยไม่จำเป็นต้องให้บัตรสัมผัสกับเครื่องอ่านดังกล่าว ส่วนใหญ่ จะใช้กับบัตรเก็บเงินทางด่วน บัตรโดยสารของ รถไฟฟ้า บีทีเอส และ รถไฟฟ้าใต้ดิน และ บัตรชำระเงินย่อยเช่น บัตร Smart Purse เป็นต้น





                                 







วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ลูกเล่นต่างๆในโปรแกรม Microsoft Office word,excelและpowerpoint


การสร้างปุ่มเปิดเอกสารในโปรแกรม Microsoft Office Powerpoint 


วิธีการรวมค่าผลลัพธ์ในโปรแกรม excel อย่างง่าย 


แทรกสัญลักษณ์และสมการในโปรแกรม Microsoft office word แบบง่ายๆ